
One Step Forward Workshop | Audio Post-Production for Film
มาต่อกันที่ครึ่งหลังของการ Workshop กันดีกว่า ภาคบ่ายจะเป็นเรื่องของ Audio Post-Production for Films โดยพี่ยู ศรันยู เนินทราย เรื่องนี้เป็นเรื่องน่าสนใจและสำคัญไม่น้อยกว่าดนตรีประกอบเลยทีเดียว มาเริ่มกันที่ความหมายของ Soundtracks กันก่อนเลย Soundtracks ก็คือเสียงทุกเสียงในภาพยนตร์ ซึ่งประกอบไปด้วยสิ่งที่เรียกว่า D-M-E Cinematic Sound “Larger than life” เป็นคำอธิบายสั้นๆ ของคำว่า Cinematic sounds ถ้าแปลเป็นไทย ก็คือ เสียงที่ใหญ่กว่าความเป็นจริง (เสียงในที่นี้หมายถึงเสียงในภาพย

One Step Forward Workshop | Film Scoring
ก่อนอื่น Lab 5 Soundworks ต้องขอสวัสดีปีใหม่ทุกๆ ท่าน หลังจากที่ห่างหายไปสักพัก เรากลับมาพร้อมกับสาระดีๆ ตามเคย เมื่อปลายปีที่ผ่านมา Lab 5 Soundworks มีโอกาสได้เข้าร่วมกิจกรรม One Step Forward: A Film Scoring & Producing Workshop ที่จัดขึ้นโดย บิล ปิยทัศน์ เหมสถาปัตย์ (Bill Piyatut) Film Composer รุ่นใหม่ไฟแรง ที่เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงในการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ ซึ่งจัดขึ้น ณ Studio 28 ในวันที่ 26-27 ธันวาคม พ.ศ. 2558 โดยวันแรกจะเป็นการพูดถึงหัวข้อ Film Scoring และวันต่อมาจะเป็นหั

การเดินทางของเสียง-ดนตรี-ภาพยนตร์ | ค.ศ. 1960 ถึงปัจจุบัน : ความหลากหลายในดนตรีประกอบภาพยนตร์ (3)
คราวที่แล้ว Lab 5 Soundworks ได้พาทุกคนกลับไปในยุคของดนตรีประกอบภาพยนตร์ทั้งยุคภาพยนตร์เงียบและยุคทองของฮอลิวู้ดกันแล้ว มาดูกันต่อว่า “การเดินทางของเสียง-ดนตรี-ภาพยนตร์ | ค.ศ. 1960 ถึงปัจจุบัน : ความหลากหลายในดนตรีประกอบภาพยนตร์” จะมีพัฒนาการไปอย่างไรบ้าง ค.ศ. 1960 ถึงปัจจุบัน : ความหลากหลายในดนตรีประกอบภาพยนตร์ ดนตรีประกอบภาพยนตร์ในยุคช่วงหลังศตวรรษที่ 20 มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบไปอย่างต่อเนื่อง ทั้งวิธีการทำงาน การเลือกใช้เพลงและการใช้สกอร์ จากดนตรีที่บรรเลงไปตามการกระทำของตั

การเดินทางของ เสียง-ดนตรี-ภาพยนตร์ | ยุคทองของ Hollywood (2)
หลังจากที่ได้ทำความรู้จักกับยุคภาพยนตร์เงียบ ต้นกำเนิดของภาพยนตร์และดนตรีประกอบในบล็อคที่แล้ว ครั้งนี้ Lab 5 Soundworks จะพาไปย้อนอดีตกับประวัติศาสตร์ดนตรีประกอบภาพยนตร์กันต่อในตอนที่ 2 “การเดินทางของเสียง-ดนตรี-ภาพยนตร์ | ค.ศ. 1927-1960 ยุคทองของ Hollywood” ค.ศ. 1927-1960 : ยุคทองของ Hollywood ย้อนไปเมื่อเอดิสันทดลองสร้างภาพยนตร์ในห้องแล็บเมื่อปี ค.ศ. 1894 และได้พยายาม sync เสียงในภาพยนตร์ จนถึงยุคภาพยนตร์เงียบของสองพี่น้องลูมิแอร์ ภาพยนตร์ได้พัฒนาขึ้นตามเทคโนโลยีที่ทันสมัยแ

การเดินทางของ เสียง-ดนตรี-ภาพยนตร์ | ความเป็นไปในภาพยนตร์เงียบ (1)
ภาพและเสียงถือเป็นส่วนประกอบหนึ่งในการรับรู้ของมนุษย์ เราใช้การมองเห็นและการได้ยินแทบจะทุกกิจกรรมในชีวิตประจำวันของเรา ซึ่งประสาทสัมผัสทั้งสองนี้ส่งผลต่ออารมณ์ความรู้สึกของเราได้อย่างน่าประหลาดใจ หลักการทำงานของภาพและเสียงที่ส่งผลต่อความรู้สึกของมนุษย์ถูกนำมาใช้ทั้งในด้านวิทยาศาสตร์ ศิลปะ และความบันเทิง จนกลายเป็น ภาพยนตร์ อย่างที่เราเห็นกันในปัจจุบัน แล้วดนตรีไปอยู่ในภาพยนตร์ได้อย่างไร ? Lab 5 Soundworks จะพาทุกคนไปรู้จักกับประวัติศาสตร์และความเป็นมาของดนตรีประกอบภาพยนตร์ก


"เพลง Reference" ใช้อย่างไรให้มีประสิทธิภาพ
หลายคนคงคุ้นหูกับคำว่า “เพลง Reference” จริงๆ แล้วในอุตสาหกรรมดนตรีประกอบภาพยนตร์หรือดนตรีประกอบสื่อในต่างประเทศ มักเรียกเพลง Reference ว่า Temp track (คำเรียกอื่นๆ ที่อาจจะพบได้คือ Temp score หรือ Temp music) โดยมาจากชื่อเต็มที่ว่า “Temporary track” นั่นเอง Lab 5 Soundworks จะพาไปดูว่าแท้จริงแล้ว Temp track หรือ เพลง Reference ที่เราใช้กันอยู่นั้น มันมีไว้ทำอะไร มีประโยชน์และโทษต่อผู้กำกับ (เจ้าของงานหรือผู้ว่าจ้าง) และคนทำเพลง อย่างไรบ้าง ถ้าจะให้พูดกันง่ายๆ Temp track ก็คื


กว่าจะเป็นดนตรีประกอบ | ทำอย่างไร (2)
ตอนที่แล้ว กว่าจะเป็นดนตรีประกอบ | ทำอย่างไร (1) เราได้พูดถึงขั้นตอนในการทำดนตรีประกอบภาพยนตร์ไป 2 ขั้นตอนคือ Spoting Session, Scoring Session ในครั้งนี้ Lab 5 Soundworks จะพาไปดูขั้นตอนที่เหลือกันว่ากว่าจะเป็นดนตรีประกอบที่สมบูรณ์เขาต้องทำอย่างไรกันอีกบ้าง The Recording Session มาถึงขั้นตอนการบันทึกเสียงกันบ้าง โดยส่วนมากคนทำเพลงควรจะควบคุมวงได้ ในกรณีที่คนทำเพลงไม่สามารถควบคุมวงได้ อาจเพราะมีประสบการณ์ในการควบคุมวงที่น้อยหรือไม่มีจิตวิทยาในการควบคุมคนหมู่มาก การจ้างผู้ควบคุ


กว่าจะเป็นดนตรีประกอบ | ทำอย่างไร (1)
หลังจากครั้งที่แล้วเราได้พูดถึงผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ ในอุตสาหกรรมดนตรีประกอบภาพยนตร์ไป วันนี้ Lab 5 Soundworks จะพาไปดูว่ากว่าจะเป็นดนตรีประกอบภายยนตร์ที่สมบูรณ์นั้นมันมีขั้นตอนอย่างไรบ้าง ซึ่งเราก็จะยกตัวอย่างมาจากอุตสาหกรรมภาพยนตร์ของต่างประเทศอีกเช่นเคย ทำไมเราถึงต้องพูดถึงระบบการทำงานกับคนทำเพลงในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ต่างประเทศ เพราะ ในต่างประเทศมีการทำงานในสเกลที่ใหญ่จนเป็นระบบอุตสาหกรรม นั่นแสดงให้เห็นว่า วิธีการจัดการและขั้นตอนการทำงานจำเป็นต้องมีความเป็นระบบระเบียบ เพื่อ


กว่าจะเป็นดนตรีประกอบ | ใครทำอะไร (2)
3 ตำแหน่งที่กล่าวถึงในตอนที่แล้วของ "กว่าจะเป็นดนตรีประกอบ | ใครทำอะไร 1" ถือเป็นหัวใจสำคัญที่กำหนด Style และ Taste ของดนตรีประกอบในงานนั้นๆ เลย สำหรับ Blog นี้ Lab 5 Soundworks จะพามาทำความรู้จักกับต่ำแหน่งอื่นๆ กันต่อดีกว่า Programmer (Sequencing) - นักเขียนโปรแกรมดนตรี นักเขียนโปรแกรมในที่นี้ ไม่ใช่คนคิดค้นโปรแกรมหรือนักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์อย่างที่เราคิดไว้นะ แต่หมายถึงคนที่คอยใช้โปรแกรมดนตรีในการช่วยให้งานนั้นๆ ลื่นไหล มีหน้าที่ทำให้โน้ตเพลงที่คนแต่งเพลงเขียนไว้ในกระดา


กว่าจะเป็นดนตรีประกอบ | ใครทำอะไร (1)
Lab 5 Soundworks จะมาพูดถึงการทำเพลงประกอบสื่อต่างๆ ว่ามันจะต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญด้านไหนและมีขั้นตอนการทำงานอย่างไรบ้าง ในที่นี้จะขอยกตัวอย่างการทำงานในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ต่างประเทศ เพราะในต่างประเทศมีการทำงานในสเกลที่ใหญ่จนเป็นอุตสาหกรรม นั่นแสดงให้เห็นว่า วิธีการจัดการและขั้นตอนการทำงานจำเป็นต้องมีความเป็นระบบระเบียบ เพื่อให้การทำงานมีความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ทำให้ลดปัญหาเล็กๆ น้อยๆ เช่น การตกลงเนื้อหาหรือทิศทางของงานที่ไม่ชัดเจน ดังนั้นมันจึงเป็นบรรทัดฐานที่ดีสำหรับการทำงา